delete ไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน unlink()
รูปแบบ
unlink(filename)
filename คือ ที่อยู่ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$file = "c:\\test.txt";
if (unlink($file))
{
echo ("deleted $file");
}
else
{
echo ("error");
}
?>
จากตัวอย่าง
ถ้า delete สำเร็จจะ return TRUE ทำให้พิมพ์ deleted c:\test.txt
ถ้าไม่สำเร็จจะ return FALSE ทำให้พิมพ์ error
วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553
สร้างไฟล์ชั่วคราว ด้วยฟังก์ชัน tmpfile()
สร้างไฟล์ชั่วคราว ด้วยฟังก์ชัน tmpfile()
รูปแบบ
tmpfile()
*ไม่มีพารามิเตอร์
ค่า return
resource ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$temp = tmpfile();
fwrite($temp, "TEST");
fclose($temp);
?>
รูปแบบ
tmpfile()
*ไม่มีพารามิเตอร์
ค่า return
resource ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$temp = tmpfile();
fwrite($temp, "TEST");
fclose($temp);
?>
สร้างไฟล์ชั่วคราว ด้วยฟังก์ชัน tempnam()
สร้างไฟล์ชั่วคราว ด้วยฟังก์ชัน tempnam()
รูปแบบ
tempnam(dir,prefix)
dir คือ ที่อยู่ของไฟล์
prefix คือ คำนำหน้าชื่อของไฟล์
ค่า return
path ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo tempnam("C:\\","tem");
?>
จากตัวอย่าง จะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น C:\temFB.tmp
รูปแบบ
tempnam(dir,prefix)
dir คือ ที่อยู่ของไฟล์
prefix คือ คำนำหน้าชื่อของไฟล์
ค่า return
path ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo tempnam("C:\\","tem");
?>
จากตัวอย่าง จะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น C:\temFB.tmp
ทดสอบว่าจบไฟล์หรือยัง ด้วยฟังก์ชัน feof()
ทดสอบว่าจบไฟล์หรือยัง ด้วยฟังก์ชัน feof()
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "r") ;
while(!feof($file))
{
echo fgets($file). "<br />";
}
fclose($file);
?>
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "r") ;
while(!feof($file))
{
echo fgets($file). "<br />";
}
fclose($file);
?>
ปิดไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fclose()
ปิดไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fclose()
ตัวอย่าง
<?php
$file=fopen("c:\\welcome.txt","w+");
fclose($file);
?>
ตัวอย่าง
<?php
$file=fopen("c:\\welcome.txt","w+");
fclose($file);
?>
หาข้อมูลของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fstat()
หาข้อมูลของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fstat()
รูปแบบ
fstat(file)
file คือ resource ของไฟล์
ฟังก์ชันจะ return ค่าเป็น array โดยมี element ดังนี้
[0] หรือ [dev] คือ Device number
[1] หรือ [ino] คือ Inode number
[2] หรือ [mode] คือ Inode protection mode
[3] หรือ [nlink] คือ Number of links
[4] หรือ [uid] คือ User ID of owner
[5] หรือ [gid] คือ Group ID of owner
[6] หรือ [rdev] คือ Inode device type
[7] หรือ [size] คือ Size in bytes
[8] หรือ [atime] คือ Last access (รูปแบบ Unix timestamp)
[9] หรือ [mtime] คือ Last modified (รูปแบบ Unix timestamp)
[10] หรือ [ctime] คือ Last inode change (รูปแบบ Unix timestamp)
[11] หรือ [blksize] คือ Blocksize of filesystem IO (if supported)
[12] หรือ [blocks] คือ Number of blocks allocated
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
print_r(fstat($file));
fclose($file);
?>
รูปแบบ
fstat(file)
file คือ resource ของไฟล์
ฟังก์ชันจะ return ค่าเป็น array โดยมี element ดังนี้
[0] หรือ [dev] คือ Device number
[1] หรือ [ino] คือ Inode number
[2] หรือ [mode] คือ Inode protection mode
[3] หรือ [nlink] คือ Number of links
[4] หรือ [uid] คือ User ID of owner
[5] หรือ [gid] คือ Group ID of owner
[6] หรือ [rdev] คือ Inode device type
[7] หรือ [size] คือ Size in bytes
[8] หรือ [atime] คือ Last access (รูปแบบ Unix timestamp)
[9] หรือ [mtime] คือ Last modified (รูปแบบ Unix timestamp)
[10] หรือ [ctime] คือ Last inode change (รูปแบบ Unix timestamp)
[11] หรือ [blksize] คือ Blocksize of filesystem IO (if supported)
[12] หรือ [blocks] คือ Number of blocks allocated
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
print_r(fstat($file));
fclose($file);
?>
หาไฟล์หรือ directory ที่เข้ารูปแบบที่กำหนด ด้วยฟังก์ชัน glob()
หาไฟล์หรือ directory ที่เข้ารูปแบบที่กำหนด ด้วยฟังก์ชัน glob()
รูปแบบ
glob(pattern)
pattern คือ รูปแบบ
ตัวอย่าง
<?php
print_r(glob("*.txt"));
?>
รูปแบบ
glob(pattern)
pattern คือ รูปแบบ
ตัวอย่าง
<?php
print_r(glob("*.txt"));
?>
เปลี่ยนชื่อไฟล์ หรือ ชื่อdirectory ด้วยฟังก์ชัน rename()
เปลี่ยนชื่อไฟล์ หรือ ชื่อdirectory ด้วยฟังก์ชัน rename()
รูปแบบ
rename(oldname , newname)
oldname คือ ชื่อเก่า
newname คือ ชื่อใหม่
ตัวอย่าง
<?php
rename("c:\\test.txt" , "c:\\newtest.txt");
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเปลี่ยนชื่อสำเร็จ
return ค่า FALSE ถ้าเปลี่ยนชื่อไม่สำเร็จ
รูปแบบ
rename(oldname , newname)
oldname คือ ชื่อเก่า
newname คือ ชื่อใหม่
ตัวอย่าง
<?php
rename("c:\\test.txt" , "c:\\newtest.txt");
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเปลี่ยนชื่อสำเร็จ
return ค่า FALSE ถ้าเปลี่ยนชื่อไม่สำเร็จ
กำหนด file pointer ไปที่ตอนต้นของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน rewind()
กำหนด file pointer ไปที่ตอนต้นของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน rewind()
รูปแบบ
rewind(file)
file คือ resource ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
rewind($file);
fclose($file);
?>
รูปแบบ
rewind(file)
file คือ resource ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
rewind($file);
fclose($file);
?>
อ่านตำแหน่ง file pointer ด้วยฟังก์ชัน ftell()
อ่านตำแหน่ง file pointer ด้วยฟังก์ชัน ftell()
รูปแบบ
ftell(file)
file คือ resource ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
echo ftell($file);
echo "<br>";
fseek($file,"100");
echo ftell($file);
fclose($file);
?>
รูปแบบ
ftell(file)
file คือ resource ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
echo ftell($file);
echo "<br>";
fseek($file,"100");
echo ftell($file);
fclose($file);
?>
เลื่อน file pointer ด้วยฟังก์ชัน fseek()
เลื่อน file pointer ด้วยฟังก์ชัน fseek()
รูปแบบ
fseek(file , offset)
file คือ resource ของไฟล์
offset คือ ตำแหน่งที่ต้องการ
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
fgets($file);
fseek($file,0);
?>
รูปแบบ
fseek(file , offset)
file คือ resource ของไฟล์
offset คือ ตำแหน่งที่ต้องการ
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
fgets($file);
fseek($file,0);
?>
ตัดย่อขนาดของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน ftruncate()
ตัดย่อขนาดของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน ftruncate()
รูปแบบ
ftruncate(file , size)
file คือ resource ของไฟล์
size คือ ขนาดที่ต้องการ
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "a+");
ftruncate($file,100);
fclose($file);
echo filesize("test.txt");
?>
รูปแบบ
ftruncate(file , size)
file คือ resource ของไฟล์
size คือ ขนาดที่ต้องการ
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "a+");
ftruncate($file,100);
fclose($file);
echo filesize("test.txt");
?>
lock หรือ release ไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน flock()
lock หรือ release ไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน flock()
รูปแบบ
flock(file , lock)
file คือ resource ของไฟล์ที่ต้องการ lock
lock คือ ชนิดของการ lock
ค่าที่เป็นไปได้คือ
LOCK_SH - Shared lock (reader) แต่อนุญาติให้ process อื่นอ่านได้
LOCK_EX - Exclusive lock (writer) ป้องกันไม่ให้ processes อื่น accessing ไฟล์
LOCK_UN - ปล่อยการ lock
LOCK_NB - ขจัดการ blocking processe อื่นตอนที่ lock ไฟล์ (ไม่ support บน windows)
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","w+");
flock($file,LOCK_EX);
fwrite($file,"test");
flock($file,LOCK_UN);
fclose($file);
?>
รูปแบบ
flock(file , lock)
file คือ resource ของไฟล์ที่ต้องการ lock
lock คือ ชนิดของการ lock
ค่าที่เป็นไปได้คือ
LOCK_SH - Shared lock (reader) แต่อนุญาติให้ process อื่นอ่านได้
LOCK_EX - Exclusive lock (writer) ป้องกันไม่ให้ processes อื่น accessing ไฟล์
LOCK_UN - ปล่อยการ lock
LOCK_NB - ขจัดการ blocking processe อื่นตอนที่ lock ไฟล์ (ไม่ support บน windows)
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","w+");
flock($file,LOCK_EX);
fwrite($file,"test");
flock($file,LOCK_UN);
fclose($file);
?>
เขียน string ลงไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน file_put_contents()
เขียน string ลงไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน file_put_contents()
รูปแบบ
file_put_contents(file , data)
file คือ ที่อยู่ไฟล์
data คือ string ที่ต้องการเขียน
ตัวอย่าง
<?php
echo file_put_contents("test.txt","This is test file");
?>
รูปแบบ
file_put_contents(file , data)
file คือ ที่อยู่ไฟล์
data คือ string ที่ต้องการเขียน
ตัวอย่าง
<?php
echo file_put_contents("test.txt","This is test file");
?>
เขียนไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fputs()
เขียนไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fputs()
รูปแบบ
fputs(file , string , length)
file คือ resource file
string คือ ข้อมูลที่จะเขียน
length คือ ความยาวที่ต้องการอ่าน พารามิเตอร์นี้เป็น option
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","w");
echo fputs($file,"Hello World. Testing!");
fclose($file);
?>
ฟังก์ชันจะ return จำนวนของ byte ที่ถูกเขียน
รูปแบบ
fputs(file , string , length)
file คือ resource file
string คือ ข้อมูลที่จะเขียน
length คือ ความยาวที่ต้องการอ่าน พารามิเตอร์นี้เป็น option
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","w");
echo fputs($file,"Hello World. Testing!");
fclose($file);
?>
ฟังก์ชันจะ return จำนวนของ byte ที่ถูกเขียน
เขียนไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fwrite()
เขียนไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fwrite()
รูปแบบ
fwrite(file , string , length)
file คือ resource file
string คือ ข้อมูลที่จะเขียน
length คือ ความยาวที่ต้องการอ่าน พารามิเตอร์นี้เป็น option
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","w");
echo fwrite($file,"Hello World. Testing!");
fclose($file);
?>
ฟังก์ชันจะ return จำนวนของ byte ที่ถูกเขียน
รูปแบบ
fwrite(file , string , length)
file คือ resource file
string คือ ข้อมูลที่จะเขียน
length คือ ความยาวที่ต้องการอ่าน พารามิเตอร์นี้เป็น option
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","w");
echo fwrite($file,"Hello World. Testing!");
fclose($file);
?>
ฟังก์ชันจะ return จำนวนของ byte ที่ถูกเขียน
อ่านไฟล์ออกมาเป็น string ด้วยฟังก์ชัน file_get_contents()
อ่านไฟล์ออกมาเป็น string ด้วยฟังก์ชัน file_get_contents()
รูปแบบ
file_get_contents(path)
path คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo file_get_contents("test.txt");
?>
รูปแบบ
file_get_contents(path)
path คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo file_get_contents("test.txt");
?>
อ่านไฟล์ใส่ array ด้วยฟังก์ชัน file()
อ่านไฟล์ใส่ array ด้วยฟังก์ชัน file()
รูปแบบ
file(path)
path คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
print_r(file("test.txt"));
?>
รูปแบบ
file(path)
path คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
print_r(file("test.txt"));
?>
อ่านข้อมูลมาทีละตัวอักษร ด้วยฟังก์ชัน fgetc()
อ่านข้อมูลมาทีละตัวอักษร ด้วยฟังก์ชัน fgetc()
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "r") ;
while(!feof($file))
{
echo fgetc($file). "<br />";
}
fclose($file);
?>
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "r") ;
while(!feof($file))
{
echo fgetc($file). "<br />";
}
fclose($file);
?>
อ่านข้อมูลมาทีละบรรทัด ด้วยฟังก์ชัน fgets()
อ่านข้อมูลมาทีละบรรทัด ด้วยฟังก์ชัน fgets()
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "r") ;
while(!feof($file))
{
echo fgets($file). "<br />";
}
fclose($file);
?>
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt", "r") ;
while(!feof($file))
{
echo fgets($file). "<br />";
}
fclose($file);
?>
อ่านไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fread()
อ่านไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fread()
รูปแบบ
fread(file , length)
file คือ resource file
length คือ ความยาวที่ต้องการอ่าน หน่วยเป็น byte
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
fread($file,"10");
fclose($file);
?>
ฟังก์ชันจะ return ข้อมูลเป็น string
รูปแบบ
fread(file , length)
file คือ resource file
length คือ ความยาวที่ต้องการอ่าน หน่วยเป็น byte
ตัวอย่าง
<?php
$file = fopen("test.txt","r");
fread($file,"10");
fclose($file);
?>
ฟังก์ชันจะ return ข้อมูลเป็น string
สร้างหรือเปิดไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fopen()
สร้างหรือเปิดไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fopen()
รูปแบบfopen(filename , mode)
filename คือ ไฟล์ที่ต้องการทำงาน
mode คือ ลักษณะที่จะทำงานกับไฟล์
filename คือ ไฟล์ที่ต้องการทำงาน
mode คือ ลักษณะที่จะทำงานกับไฟล์
mode | คำอธิบาย |
r | อ่านอย่างเดียว เริ่มต้นที่ต้นไฟล์ |
r+ | อ่านและเขียน เริ่มต้นที่ต้นไฟล์ |
w | เขียนอย่างเดียว โดยเปิดขึ้นมาแล้วลบข้อมูลเก่าทิ้ง ถ้าไม่มีไฟล์จะสร้างไฟล์ |
w+ | อ่านและเขียน โดยเปิดขึ้นมาแล้วลบข้อมูลเก่าทิ้ง ถ้าไม่มีไฟล์จะสร้างไฟล์ |
a | เขียนต่อท้าย โดยเปิดขึ้นมาแล้วเขียนต่อท้ายไฟล์ ถ้าไม่มีไฟล์จะสร้างไฟล์ |
a+ | อ่านและเขียนต่อท้าย โดยเปิดขึ้นมาแล้วเขียนต่อท้ายไฟล์ ถ้าไม่มีไฟล์จะสร้างไฟล์ |
x | เขียนอย่างเดียว โดยสร้างไฟล์ใหม่ ถ้ามีไฟล์แล้วจะ return error |
x+ | อ่านและเขียน โดยสร้างไฟล์ใหม่ ถ้ามีไฟล์แล้วจะ return error |
อ่านเพิมเติมได้ที่ http://php.net/manual/en/function.fopen.php
ตัวอย่าง
<?php
$file=fopen("c:\\welcome.txt","w+");
?>
อ่านข้อมูล permissions ของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fileperms()
อ่านข้อมูล permissions ของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fileperms()
รูปแบบ
fileperms(filename)
filename คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo fileperms("test.txt");
?>
รูปแบบ
fileperms(filename)
filename คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo fileperms("test.txt");
?>
อ่านข้อมูล user ID หรือ owner ของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fileowner()
อ่านข้อมูล user ID หรือ owner ของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน fileowner()
รูปแบบ
fileowner(filename)
filename คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo fileowner("test.txt");
?>
รูปแบบ
fileowner(filename)
filename คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo fileowner("test.txt");
?>
อ่านข้อมูล group ID ของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน filegroup()
อ่านข้อมูล group ID ของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน filegroup()
รูปแบบ
filegroup(filename)
filename คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo filegroup("test.txt");
?>
รูปแบบ
filegroup(filename)
filename คือ ที่อยู่ไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo filegroup("test.txt");
?>
อ่านข้อมูลเกี่ยวกับ path เข้า array ด้วยฟังก์ชัน pathinfo()
อ่านข้อมูลเกี่ยวกับ path เข้า array ด้วยฟังก์ชัน pathinfo()
รูปแบบ
pathinfo(path)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
ค่าreturn
เป็น array มี 3 element คือ
dirname , basename , extension
ตัวอย่าง
<?php
$a=pathinfo("./testdirectory/test.txt");
print_r($a);
?>
ผลลัพธ์
Array
(
[dirname] => ./testdirectory
[basename] => test.txt
[extension] => txt
[filename] => test
)
รูปแบบ
pathinfo(path)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
ค่าreturn
เป็น array มี 3 element คือ
dirname , basename , extension
ตัวอย่าง
<?php
$a=pathinfo("./testdirectory/test.txt");
print_r($a);
?>
ผลลัพธ์
Array
(
[dirname] => ./testdirectory
[basename] => test.txt
[extension] => txt
[filename] => test
)
อ่าน path จริง ด้วยฟังก์ชัน realpath()
อ่าน path จริง ด้วยฟังก์ชัน realpath()
รูปแบบ
realpath(path)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo realpath("test.txt");
?>
ผลลัพธ์
C:\AppServ\www\test.txt
รูปแบบ
realpath(path)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo realpath("test.txt");
?>
ผลลัพธ์
C:\AppServ\www\test.txt
การอ่านชื่อ directory จาก path ด้วยฟังก์ชัน dirname()
การอ่านชื่อ directory จาก path ด้วยฟังก์ชัน dirname()
รูปแบบ
dirname(path)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo dirname("c:/testdirectory/home.php") . "<br />";
echo dirname("/testdirectory/home.php");
?>
ผลลัพธ์
testdirectory
testdirectory
รูปแบบ
dirname(path)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
echo dirname("c:/testdirectory/home.php") . "<br />";
echo dirname("/testdirectory/home.php");
?>
ผลลัพธ์
testdirectory
testdirectory
การอ่านชื่อไฟล์จาก path ด้วยฟังก์ชัน basename()
การอ่านชื่อไฟล์จาก path ด้วยฟังก์ชัน basename()
รูปแบบ
basename(path,suffix)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
suffix คือ นามสกุลของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$path = "c:\\test.txt";
echo basename($path) ."<br/>";
echo basename($path,".txt");
?>
จากตัวอย่างครั้งแรกอ่านชื่อไฟล์และนามสกุล ครั้งที่2 อ่านแต่ชื่อไฟล์
รูปแบบ
basename(path,suffix)
path คือ ที่อยู่ของไฟล์
suffix คือ นามสกุลของไฟล์
ตัวอย่าง
<?php
$path = "c:\\test.txt";
echo basename($path) ."<br/>";
echo basename($path,".txt");
?>
จากตัวอย่างครั้งแรกอ่านชื่อไฟล์และนามสกุล ครั้งที่2 อ่านแต่ชื่อไฟล์
หาข้อมูลของไฟล์หรือ symbolic link ด้วยฟังก์ชัน lstat()
หาข้อมูลของไฟล์หรือ symbolic link ด้วยฟังก์ชัน lstat()
รูปแบบ
lstat(file)
file คือ path ที่อยู่
ฟังก์ชันจะ return ค่าเป็น array โดยมี element ดังนี้
[0] หรือ [dev] คือ Device number
[1] หรือ [ino] คือ Inode number
[2] หรือ [mode] คือ Inode protection mode
[3] หรือ [nlink] คือ Number of links
[4] หรือ [uid] คือ User ID of owner
[5] หรือ [gid] คือ Group ID of owner
[6] หรือ [rdev] คือ Inode device type
[7] หรือ [size] คือ Size in bytes
[8] หรือ [atime] คือ Last access (รูปแบบ Unix timestamp)
[9] หรือ [mtime] คือ Last modified (รูปแบบ Unix timestamp)
[10] หรือ [ctime] คือ Last inode change (รูปแบบ Unix timestamp)
[11] หรือ [blksize] คือ Blocksize of filesystem IO (if supported)
[12] หรือ [blocks] คือ Number of blocks allocated
ตัวอย่าง
<?php
$arrayInfo=lstat("c:\\test.txt");
print_r($arrayInfo);
?>
ผลลัพธ์Array (
[0] => 2
[1] => 0
[2] => 33206
[3] => 1
[4] => 0
[5] => 0
[6] => 2
[7] => 0
[8] => 1287163319
[9] => 1287163319
[10] => 1287163319
[11] => -1
[12] => -1
[dev] => 2
[ino] => 0
[mode] => 33206
[nlink] => 1
[uid] => 0
[gid] => 0
[rdev] => 2
[size] => 0
[atime] => 1287163319
[mtime] => 1287163319
[ctime] => 1287163319
[blksize] => -1
[blocks] => -1
)
รูปแบบ
lstat(file)
file คือ path ที่อยู่
ฟังก์ชันจะ return ค่าเป็น array โดยมี element ดังนี้
[0] หรือ [dev] คือ Device number
[1] หรือ [ino] คือ Inode number
[2] หรือ [mode] คือ Inode protection mode
[3] หรือ [nlink] คือ Number of links
[4] หรือ [uid] คือ User ID of owner
[5] หรือ [gid] คือ Group ID of owner
[6] หรือ [rdev] คือ Inode device type
[7] หรือ [size] คือ Size in bytes
[8] หรือ [atime] คือ Last access (รูปแบบ Unix timestamp)
[9] หรือ [mtime] คือ Last modified (รูปแบบ Unix timestamp)
[10] หรือ [ctime] คือ Last inode change (รูปแบบ Unix timestamp)
[11] หรือ [blksize] คือ Blocksize of filesystem IO (if supported)
[12] หรือ [blocks] คือ Number of blocks allocated
ตัวอย่าง
<?php
$arrayInfo=lstat("c:\\test.txt");
print_r($arrayInfo);
?>
ผลลัพธ์Array (
[0] => 2
[1] => 0
[2] => 33206
[3] => 1
[4] => 0
[5] => 0
[6] => 2
[7] => 0
[8] => 1287163319
[9] => 1287163319
[10] => 1287163319
[11] => -1
[12] => -1
[dev] => 2
[ino] => 0
[mode] => 33206
[nlink] => 1
[uid] => 0
[gid] => 0
[rdev] => 2
[size] => 0
[atime] => 1287163319
[mtime] => 1287163319
[ctime] => 1287163319
[blksize] => -1
[blocks] => -1
)
หาเวลาการแก้ไขไฟล์ครั้งหลังสุด ด้วยฟังก์ชัน filemtime()
หาเวลาการแก้ไขไฟล์ครั้งหลังสุด ด้วยฟังก์ชัน filemtime()
รูปแบบ
filemtime(filename)
filename คือ path ที่อยู่
ตัวอย่าง
<?php
echo filemtime("c:\\test.txt");
echo "<br />";
echo date("F d Y H:i:s.",filemtime("c:\\test.txt"));
?>
เนื่องจากฟังก์ชัน return ค่ามาเป็น Unix timestamp จึงต้องใช้ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเข้ามาแปลงต่อ
รูปแบบ
filemtime(filename)
filename คือ path ที่อยู่
ตัวอย่าง
<?php
echo filemtime("c:\\test.txt");
echo "<br />";
echo date("F d Y H:i:s.",filemtime("c:\\test.txt"));
?>
เนื่องจากฟังก์ชัน return ค่ามาเป็น Unix timestamp จึงต้องใช้ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเข้ามาแปลงต่อ
หาขนาดของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน filesize()
หาขนาดของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน filesize()
รูปแบบ
filetype(filename)
filename คือ path ที่อยู่
ตัวอย่าง
<?php
echo filesize("test.txt");
?>
รูปแบบ
filetype(filename)
filename คือ path ที่อยู่
ตัวอย่าง
<?php
echo filesize("test.txt");
?>
หาข้อมูลของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน stat()
หาข้อมูลของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน stat()
รูปแบบ
stat(file)
file คือ path ที่อยู่
ฟังก์ชันจะ return ค่าเป็น array โดยมี element ดังนี้
[0] หรือ [dev] คือ Device number
[1] หรือ [ino] คือ Inode number
[2] หรือ [mode] คือ Inode protection mode
[3] หรือ [nlink] คือ Number of links
[4] หรือ [uid] คือ User ID of owner
[5] หรือ [gid] คือ Group ID of owner
[6] หรือ [rdev] คือ Inode device type
[7] หรือ [size] คือ Size in bytes
[8] หรือ [atime] คือ Last access (รูปแบบ Unix timestamp)
[9] หรือ [mtime] คือ Last modified (รูปแบบ Unix timestamp)
[10] หรือ [ctime] คือ Last inode change (รูปแบบ Unix timestamp)
[11] หรือ [blksize] คือ Blocksize of filesystem IO (if supported)
[12] หรือ [blocks] คือ Number of blocks allocated
ตัวอย่าง
<?php
$arrayInfo=stat("c:\\test.txt");
print_r($arrayInfo);
?>
ผลลัพธ์Array (
[0] => 2
[1] => 0
[2] => 33206
[3] => 1
[4] => 0
[5] => 0
[6] => 2
[7] => 0
[8] => 1287163319
[9] => 1287163319
[10] => 1287163319
[11] => -1
[12] => -1
[dev] => 2
[ino] => 0
[mode] => 33206
[nlink] => 1
[uid] => 0
[gid] => 0
[rdev] => 2
[size] => 0
[atime] => 1287163319
[mtime] => 1287163319
[ctime] => 1287163319
[blksize] => -1
[blocks] => -1
)
รูปแบบ
stat(file)
file คือ path ที่อยู่
ฟังก์ชันจะ return ค่าเป็น array โดยมี element ดังนี้
[0] หรือ [dev] คือ Device number
[1] หรือ [ino] คือ Inode number
[2] หรือ [mode] คือ Inode protection mode
[3] หรือ [nlink] คือ Number of links
[4] หรือ [uid] คือ User ID of owner
[5] หรือ [gid] คือ Group ID of owner
[6] หรือ [rdev] คือ Inode device type
[7] หรือ [size] คือ Size in bytes
[8] หรือ [atime] คือ Last access (รูปแบบ Unix timestamp)
[9] หรือ [mtime] คือ Last modified (รูปแบบ Unix timestamp)
[10] หรือ [ctime] คือ Last inode change (รูปแบบ Unix timestamp)
[11] หรือ [blksize] คือ Blocksize of filesystem IO (if supported)
[12] หรือ [blocks] คือ Number of blocks allocated
ตัวอย่าง
<?php
$arrayInfo=stat("c:\\test.txt");
print_r($arrayInfo);
?>
ผลลัพธ์Array (
[0] => 2
[1] => 0
[2] => 33206
[3] => 1
[4] => 0
[5] => 0
[6] => 2
[7] => 0
[8] => 1287163319
[9] => 1287163319
[10] => 1287163319
[11] => -1
[12] => -1
[dev] => 2
[ino] => 0
[mode] => 33206
[nlink] => 1
[uid] => 0
[gid] => 0
[rdev] => 2
[size] => 0
[atime] => 1287163319
[mtime] => 1287163319
[ctime] => 1287163319
[blksize] => -1
[blocks] => -1
)
หาประเภทของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน filetype()
หาประเภทของไฟล์ ด้วยฟังก์ชัน filetype()
รูปแบบ
filetype(filename)
filename คือ path ที่อยู่
ตัวอย่าง
<?php
echo filetype("test.txt");
echo "<br>";
echo filetype('c:\\');
?>
ผลลัพธ์
file
dir
รูปแบบ
filetype(filename)
filename คือ path ที่อยู่
ตัวอย่าง
<?php
echo filetype("test.txt");
echo "<br>";
echo filetype('c:\\');
?>
ผลลัพธ์
file
dir
เช็คว่าไฟล์หรือ directory มีอยู่หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน file_exists()
เช็คว่าไฟล์หรือ directory มีอยู่หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน file_exists()
รูปแบบ
file_exists(path)
path คือ path ที่จะเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
if( file_exists("test.txt") )
{
echo "มีไฟล์";
}
else
{
echo "ไม่มีไฟล์";
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้ามี
return ค่า FALSE ถ้าไม่มี
รูปแบบ
file_exists(path)
path คือ path ที่จะเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
if( file_exists("test.txt") )
{
echo "มีไฟล์";
}
else
{
echo "ไม่มีไฟล์";
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้ามี
return ค่า FALSE ถ้าไม่มี
เช็คว่าไฟล์สามารถอ่านได้หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_readable()
เช็คว่าไฟล์สามารถอ่านได้หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_readable()
รูปแบบ
is_readable(file)
file คือ path ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$file = "test.txt";
if(is_readable($file))
{
echo ("$file is readable");
}
else
{
echo ("$file is not readable");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้า path ที่ให้มาเป็นไฟล์ที่อ่านได้
return ค่า FALSE ถ้า path ที่ให้มาเป็นไฟล์ที่อ่านไม่ได้
รูปแบบ
is_readable(file)
file คือ path ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$file = "test.txt";
if(is_readable($file))
{
echo ("$file is readable");
}
else
{
echo ("$file is not readable");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้า path ที่ให้มาเป็นไฟล์ที่อ่านได้
return ค่า FALSE ถ้า path ที่ให้มาเป็นไฟล์ที่อ่านไม่ได้
เช็คว่าเป็นไฟล์สามารถ execute ได้หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_executable()
เช็คว่าเป็นไฟล์สามารถ execute ได้หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_executable()
รูปแบบ
is_executable(file)
file คือ ที่อยู่ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$file = "test.exe";
if(is_executable($file))
{
echo ("$file is executable");
}
else
{
echo ("$file is not executable");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเป็นไฟล์ที่สามารถ execute
return ค่า FALSE ถ้าไม่เป็นไฟล์ที่สามารถ execute
รูปแบบ
is_executable(file)
file คือ ที่อยู่ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$file = "test.exe";
if(is_executable($file))
{
echo ("$file is executable");
}
else
{
echo ("$file is not executable");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเป็นไฟล์ที่สามารถ execute
return ค่า FALSE ถ้าไม่เป็นไฟล์ที่สามารถ execute
เช็คว่าเป็นไฟล์ symbolic link หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_link()
เช็คว่าเป็นไฟล์ symbolic link หรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_link()
รูปแบบ
is_link(file)
file คือ ที่อยู่ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$link = "images";
if(is_link($link))
{
echo ("$link is a link");
}
else
{
echo ("$link is not a link");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเป็นไฟล์ symbolic link
return ค่า FALSE ถ้าไม่เป็นไฟล์ symbolic link
symbolic link คล้ายกับ shoutcut ใน windows
รูปแบบ
is_link(file)
file คือ ที่อยู่ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$link = "images";
if(is_link($link))
{
echo ("$link is a link");
}
else
{
echo ("$link is not a link");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเป็นไฟล์ symbolic link
return ค่า FALSE ถ้าไม่เป็นไฟล์ symbolic link
symbolic link คล้ายกับ shoutcut ใน windows
เช็คว่าเป็นไฟล์ทั่วไปหรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_file()
เช็คว่าเป็นไฟล์ทั่วไปหรือไม่ ด้วยฟังก์ชัน is_file()
รูปแบบ
is_file(file)
file คือ ที่อยู่ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$file = "test.txt";
if(is_file($file))
{
echo ("$file is a regular file");
}
else
{
echo ("$file is not a regular file");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเป็นไฟล์ธรรมดา
return ค่า FALSE ถ้าไม่เป็นไฟล์ธรรมดา
รูปแบบ
is_file(file)
file คือ ที่อยู่ของไฟล์ที่ต้องการเช็ค
ตัวอย่าง
<?php
$file = "test.txt";
if(is_file($file))
{
echo ("$file is a regular file");
}
else
{
echo ("$file is not a regular file");
}
?>
ฟังก์ชันจะ return ค่า TRUE ถ้าเป็นไฟล์ธรรมดา
return ค่า FALSE ถ้าไม่เป็นไฟล์ธรรมดา
การทำให้ object ส่งค่า string ออกมา
การทำให้ object ส่งค่า string ออกมา
ใช้ฟังก์ชัน __tostring() ฟังก์ชันนี้จะถูกเรียกโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการใช้ echo หรือ print กับ object
__tostring ( นำหน้าด้วยขีดเส้นใต้สองเส้น )
ตัวอย่าง<?php
class test{
public $name;
public function __construct($n){
$this->name=$n;
}
public function __tostring(){
return $this->name;
}
}
$obj=new test("object1");
echo $obj;
?>
ผลลัพธ์
object1
ใช้ฟังก์ชัน __tostring() ฟังก์ชันนี้จะถูกเรียกโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการใช้ echo หรือ print กับ object
__tostring ( นำหน้าด้วยขีดเส้นใต้สองเส้น )
ตัวอย่าง<?php
class test{
public $name;
public function __construct($n){
$this->name=$n;
}
public function __tostring(){
return $this->name;
}
}
$obj=new test("object1");
echo $obj;
?>
ผลลัพธ์
object1
การสร้าง destructor ของคลาสในภาษา php
การสร้าง destructor ของคลาสในภาษา php
ตัวอย่าง<?php
class calculator
{
public $i;
function __construct()
{
echo "constructor";
}
function __destruct()
{
echo "destructor";
}
}
$c=new calculator();
?>
การสร้าง destructor เหมือนการสร้างฟังก์ชันทั่วไปแต่ฟังก์ชันจะต้องมีชื่อ __destruct ฟังก์ชันนี้จะถือเป็น destructor ของคลาส
__destruct ( นำหน้าด้วยขีดเส้นใต้สองเส้น )
ผลลัพธ์
constructor destructor
เนื่องจากการเริ่มต้น object จะเรียก constructor ทำงานพิมพ์คำว่า constructor และจบ script จึงทำให้เรียก destructor จึงพิมพ์คำว่า destructor
ตัวอย่าง<?php
class calculator
{
public $i;
function __construct()
{
echo "constructor";
}
function __destruct()
{
echo "destructor";
}
}
$c=new calculator();
?>
การสร้าง destructor เหมือนการสร้างฟังก์ชันทั่วไปแต่ฟังก์ชันจะต้องมีชื่อ __destruct ฟังก์ชันนี้จะถือเป็น destructor ของคลาส
__destruct ( นำหน้าด้วยขีดเส้นใต้สองเส้น )
ผลลัพธ์
constructor destructor
เนื่องจากการเริ่มต้น object จะเรียก constructor ทำงานพิมพ์คำว่า constructor และจบ script จึงทำให้เรียก destructor จึงพิมพ์คำว่า destructor
การสร้าง constructor ของคลาสในภาษา php
การสร้าง constructor ของคลาสในภาษา php
ตัวอย่าง
class calculator
{
public $i;
function __construct($input)
{
$i=$input;
}
}
การสร้าง constructor เหมือนการสร้างฟังก์ชันทั่วไปแต่ฟังก์ชันจะต้องมีชื่อ __construct ฟังก์ชันนี้จะถือเป็น constructor ของคลาส รูปแบบนี้ใช้ใน php5 แต่ใน php4 การสร้าง constructor จะมีรูปแบบเดียวกับภาษา C++ คือจะเป็นฟังก์ชันชื่อเดียวกับคลาส
__construct ( นำหน้าด้วยขีดเส้นใต้สองเส้น )
ตัวอย่าง
class calculator
{
public $i;
function __construct($input)
{
$i=$input;
}
}
การสร้าง constructor เหมือนการสร้างฟังก์ชันทั่วไปแต่ฟังก์ชันจะต้องมีชื่อ __construct ฟังก์ชันนี้จะถือเป็น constructor ของคลาส รูปแบบนี้ใช้ใน php5 แต่ใน php4 การสร้าง constructor จะมีรูปแบบเดียวกับภาษา C++ คือจะเป็นฟังก์ชันชื่อเดียวกับคลาส
__construct ( นำหน้าด้วยขีดเส้นใต้สองเส้น )
การสร้าง abstract class ในภาษา php
การสร้าง abstract class ในภาษา php
abstract class เป็นคลาสที่ไม่มีการ implement method อย่างน้อย 1 method
การสร้าง abstract class จะใช้คำว่า abstract ทั้ง ต้นคลาสและ method
abstract class ไม่สามารถนำไปสร้าง object ได้
ตัวอย่าง<?php
abstract class absclass
{
abstract public function a();
public function b(){ echo "b"; }
}
class test extends absclass
{
public function a(){
echo "a";
}
}
$obj=new test;
$obj->a();
$obj->b();
?>
จากตัวอย่างจะเห็นว่า abstract class ชื่อ absclass มีmethod อยู่ 2 method โดยที่ method ชื่อ a เป็น abstract จึงต้องมีการ implement จากคลาสที่สืบทอด
แต่ method ชื่อ b เป็น method ที่ implement แล้ว
เพราะฉนั้น abstract class สามารถมีการเขียนการทำงานของ method ได้แต่ต้องมี abstract method อย่างน้อย 1 method
abstract class เป็นคลาสที่ไม่มีการ implement method อย่างน้อย 1 method
การสร้าง abstract class จะใช้คำว่า abstract ทั้ง ต้นคลาสและ method
abstract class ไม่สามารถนำไปสร้าง object ได้
ตัวอย่าง<?php
abstract class absclass
{
abstract public function a();
public function b(){ echo "b"; }
}
class test extends absclass
{
public function a(){
echo "a";
}
}
$obj=new test;
$obj->a();
$obj->b();
?>
จากตัวอย่างจะเห็นว่า abstract class ชื่อ absclass มีmethod อยู่ 2 method โดยที่ method ชื่อ a เป็น abstract จึงต้องมีการ implement จากคลาสที่สืบทอด
แต่ method ชื่อ b เป็น method ที่ implement แล้ว
เพราะฉนั้น abstract class สามารถมีการเขียนการทำงานของ method ได้แต่ต้องมี abstract method อย่างน้อย 1 method
การสร้าง interface ในภาษา php
การสร้าง interface ในภาษา php
interface คล้ายกับคลาสแต่ไม่มีการ implement method เหมือนเป็นคลาสที่ประกาศว่ามี method อะไรบ้างแต่ไม่เขียนการทำงานของ method
ตัวอย่าง<?php
interface interfaceTest{
public function t();
}
class test implements interfaceTest
{
public function t(){
echo "implement interface";
}
}
$obj=new test;
$obj->t();
?>
การสร้าง interface จะใช้คำว่า interface นำหน้าจากตัวอย่างเป็นการ interface ชื่อ interfaceTest ซึ่งมี method ชื่อ t ประกาศไว้
โดย interface จะไม่มีการเขียนการทำงานของ method ใน interface
เมื่อ class นำ interface ไปใช้ต้อง implement ทุก method ที่ประกาศไว้ใน interface
ถ้า implement ไม่ครบจะเกิด error
การ implement interface ใช้คำว่า implements ดังตัวอย่าง
interface คล้ายกับคลาสแต่ไม่มีการ implement method เหมือนเป็นคลาสที่ประกาศว่ามี method อะไรบ้างแต่ไม่เขียนการทำงานของ method
ตัวอย่าง<?php
interface interfaceTest{
public function t();
}
class test implements interfaceTest
{
public function t(){
echo "implement interface";
}
}
$obj=new test;
$obj->t();
?>
การสร้าง interface จะใช้คำว่า interface นำหน้าจากตัวอย่างเป็นการ interface ชื่อ interfaceTest ซึ่งมี method ชื่อ t ประกาศไว้
โดย interface จะไม่มีการเขียนการทำงานของ method ใน interface
เมื่อ class นำ interface ไปใช้ต้อง implement ทุก method ที่ประกาศไว้ใน interface
ถ้า implement ไม่ครบจะเกิด error
การ implement interface ใช้คำว่า implements ดังตัวอย่าง
การสืบทอดคลาส ในภาษา php
การสืบทอดคลาส ในภาษา php
การสืบทอดคลาสใช้ keyword คือ extends
ตัวอย่าง<?php
class baseclass{
public $i = 0;
public function seti(){
$this->i = 1000;
}
}
class child extends baseclass{
}
$c=new child;
echo $c->i;
echo "<BR>";
$c->seti();
echo $c->i;
?>
จากตัวอย่าง จะเห็นว่าคลาส child ไม่ได้เขียนการทำงานไว้เลยแต่ extends มาจากคลาส baseclass จึงมี method และ properties จากคลาส baseclass
การสืบทอดคลาสใช้ keyword คือ extends
ตัวอย่าง<?php
class baseclass{
public $i = 0;
public function seti(){
$this->i = 1000;
}
}
class child extends baseclass{
}
$c=new child;
echo $c->i;
echo "<BR>";
$c->seti();
echo $c->i;
?>
จากตัวอย่าง จะเห็นว่าคลาส child ไม่ได้เขียนการทำงานไว้เลยแต่ extends มาจากคลาส baseclass จึงมี method และ properties จากคลาส baseclass
การเรียก method ทำงาน ในภาษา php
การเรียก method ทำงาน ในภาษา php
ตัวอย่าง<?php
class calculator
{
public $i;
function seti()
{
$this->i=100;
}
}
$obj=new calculator();
$obj->seti();
?>
การเรียก method ใช้เครื่องหมาย -> จากตัวอย่างคือ $obj->seti()
ตัวอย่าง<?php
class calculator
{
public $i;
function seti()
{
$this->i=100;
}
}
$obj=new calculator();
$obj->seti();
?>
การเรียก method ใช้เครื่องหมาย -> จากตัวอย่างคือ $obj->seti()
การควบคุมการเข้าถึง
การควบคุมการเข้าถึง property และ method ของคลาส ในภาษา php
การควบคุมการเข้าถึง ใช้ keyword คือ public, protected, private
public จะสามารถเข้าถึงได้จากทั้งภายในและภายนอกคลาสด้วย property และ method ที่เป็น public จะสืบทอดไปยังคลาสลูกด้วย
protected จะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะภายในคลาสเท่านั้น property และ method ที่เป็น protected จะสืบทอดไปยังคลาสลูกด้วย
private จะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะภายในคลาสเท่านั้น property และ method ที่เป็น private จะไม่สืบทอดไปยังคลาสลูก
ตัวอย่าง<?php
class baseclass{
public $pub;
protected $pro;
private $pri;
public function set(){
$this->pub=1000; // OK
$this->pro=1000; // OK
$this->pri=1000; // OK
}
}
$base=new baseclass;
$base->pub=1001; // OK
$base->pro=1001; // ERROR
$base->pri=1001; // ERROR
?>
การควบคุมการเข้าถึง ใช้ keyword คือ public, protected, private
public จะสามารถเข้าถึงได้จากทั้งภายในและภายนอกคลาสด้วย property และ method ที่เป็น public จะสืบทอดไปยังคลาสลูกด้วย
protected จะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะภายในคลาสเท่านั้น property และ method ที่เป็น protected จะสืบทอดไปยังคลาสลูกด้วย
private จะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะภายในคลาสเท่านั้น property และ method ที่เป็น private จะไม่สืบทอดไปยังคลาสลูก
ตัวอย่าง<?php
class baseclass{
public $pub;
protected $pro;
private $pri;
public function set(){
$this->pub=1000; // OK
$this->pro=1000; // OK
$this->pri=1000; // OK
}
}
$base=new baseclass;
$base->pub=1001; // OK
$base->pro=1001; // ERROR
$base->pri=1001; // ERROR
?>
การประกาศคลาสในภาษา php
การประกาศคลาสในภาษา php
ตัวอย่าง
class calculator
{
public $i;
function add($i1,$i2)
{
$result=$i1+$i2;
return $result;
}
}
การประกาศคลาสจะเริ่มด้วยคำว่า class แล้วตามด้วยชื่อคลาสในตัวอย่างคือ calculator
ภายในคลาสจะมีตัวแปร มีฟังก์ชัน การประกาศฟังก์ชันของคลาสก็เหมือนกับการประกาศฟังก์ชันในภาษา php
ตัวอย่าง
class calculator
{
public $i;
function add($i1,$i2)
{
$result=$i1+$i2;
return $result;
}
}
การประกาศคลาสจะเริ่มด้วยคำว่า class แล้วตามด้วยชื่อคลาสในตัวอย่างคือ calculator
ภายในคลาสจะมีตัวแปร มีฟังก์ชัน การประกาศฟังก์ชันของคลาสก็เหมือนกับการประกาศฟังก์ชันในภาษา php
การสร้าง object ในภาษา php
การสร้าง object ในภาษา php
ตัวอย่าง<?php
class calculator
{
public $i;
function __construct()
{
echo "constructor";
}
function __destruct()
{
echo "destructor";
}
}
$obj=new calculator();
?>
การสร้าง object จะใช้คำว่า new จากตัวอย่างเป็นการสร้าง object ของคลาส calculator
ตัวอย่าง<?php
class calculator
{
public $i;
function __construct()
{
echo "constructor";
}
function __destruct()
{
echo "destructor";
}
}
$obj=new calculator();
?>
การสร้าง object จะใช้คำว่า new จากตัวอย่างเป็นการสร้าง object ของคลาส calculator
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)